คำว่า Autonomy เป็นคำที่ถูกพูดถึงเป็นอย่างมากในวงการธุรกิจ เพราะเป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีทั้งข้อดีและข้อเสีย รวมถึงข้อท้าทายในตัวเอง ทำให้เป็นเรื่องที่หลายองค์กรเลือกหยิบมาพูดคุยกันว่า… “ระดับของความมีอิสระแบบไหนที่พอดีกับบริบทของตัวเอง..?” “แต่ละระดับมีอะไรบ้าง..?”
Tag: Hybrid workplace
การทำงานแบบ Hybrid สามารถเป็นได้ทั้งสิ่งดี และเป็นฝันร้ายสำหรับองค์กร แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ต้องยอมรับว่า Hybrid จะไม่หายไปไหน ดังนั้นคำถามไม่ใช่
หลาย ๆ องค์กรเริ่มเรียกตัวเองได้ว่าเป็น Hybrid Workplace ซึ่งแน่นอนว่าเป็นความเปลี่ยนแปลงที่น่าจับตามอง และเราเคยพูดถึงกันมาบ้างแล้ว แต่พอพูดว่า
เมื่อเราพูดถึง “Well-being” หรือ “สุขภาวะ” ในองค์กร เรามักนึกถึงไปถึงการได้สัมผัส ใกล้ชิดธรรมชาติ หรือ
เราได้ยินกันบ่อยครั้งแล้วกับคำว่า The Great Resignation ว่าด้วยสถานการณ์ที่พนักงานองค์กรแห่กันลาออกครั้งใหญ่ อย่างไรก็ดี ก็มีอีกหลายองค์กรที่อาจจะไม่ได้เกิด sense
ตลอดระยะเวลาสองปีที่ผ่านมา นับจากจุดเริ่มต้นการระบาดใหญ่ของโควิด-19 จะเห็นได้ว่าสถานการณ์โดยรวมมีรูปแบบ dynamic ขึ้น ๆ ลง ๆ
หนึ่งในคำถามของผู้นำองค์กรหลาย ๆ คนในช่วงนี้จะเป็นในเรื่องของการที่ว่า องค์กรของเราจะสามารถสร้างการสื่อสาร และการทำงานประสานกันอย่างมีความหมายได้อย่างไรในยุคของ Hybrid Workplace และคำตอบนั้นอาจจะเป็นสิ่งที่ชัดเจนจนเราอาจคาดไม่ถึงก่อนหน้านี้สักประมาณ
โลกได้เข้าสู่ยุคของการทำงานแบบ Hybrid Workplace ปีนี้เป็นปีที่สองแล้ว และการเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ สำหรับเหล่าองค์กรที่ต้องปรับตัวให้สอดรับกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในด้านของวิถีการทำงานแบบใหม่ที่เต็มไปด้วยตัวแปรที่หลากหลาย
ปฎิเสธไม่ได้เลยว่า… โปรเจกต์ที่ประสบความสำเร็จได้อย่างงดงาม ล้วนมีทีมงานคุณภาพอยู่เบื้องหลังด้วยกันทั้งสิ้น คำถามที่น่าสนใจคือ แล้วทีมที่ดีต้องมีคุณลักษณะแบบไหน? หากลองนึกย้อนกลับไปสมัยเรียนที่เราเรียนอยู่ในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย เมื่อต้องถูกมอบหมายให้ทำงานกลุ่ม เรามักชอบอิสระในการได้เลือกสมาชิกเข้าทีมด้วยตนเอง