"วัฒนธรรมองค์กร" เป็นทั้งเชื้อเพลิงที่เติมพลังหรือเผาไหม้พนักงานให้หมดแรงได้ ดังนั้น การกลับมาประเมินวัฒนธรรมองค์กรและวางแผนออกแบบวัฒนธรรมองค์กร (ใหม่) อย่างตั้งใจ ถือเป็นการลงทุนเพื่ออนาคตขององค์กรอย่างแท้จริง
Category: Psychology
มาลองสังเกตผ่านคำถามทั้ง 6 ข้อ ว่าคุณกำลังทำงานกับผู้จัดการแบบควบคุมรายละเอียดมากเกินไป หรือผู้จัดการที่ปล่อยปละละเลยเกินไปกันแน่...?
ความสัมพันธ์ระหว่างคนต่างรุ่น (generation gap) มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อผู้นำองค์กร ที่ต้องการสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งสริมความร่วมมือ (collaboration) และนวัตกรรม
งานวิจัยด้านประสาทวิทยา (Neuroscience) เผยว่าการใช้ ‘การแทรกแซง’ ที่เหมาะสม (เช่น การให้รางวัล การติดตามผล)
Imposter Syndrome หรืออาการที่คิดว่าตนเองไม่เก่งพอ ยังไม่ดีพอ หรือยังไม่คู่ควรกับความสำเร็จที่เกิดขึ้น
ในองค์กรมุมมองแบบดั้งเดิมที่เน้นการใช้เหตุผลเชิงตรรกะและทักษะการวิเคราะห์ มักจะละเลยความสำคัญของอารมณ์ความรู้สึก (Emotion) ซึ่งอาจนำไปสู่ปัญหาที่สำคัญมากมายในที่ทำงาน รวมถึงความขัดแย้งระหว่างบุคคล พนักงานขาดความสนใจในงาน และการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ปัญหาทางอารมณ์ต่างๆ
พอพูดถึงคำว่า “บูลลี่” เราอาจจะคุ้นชินกับคำนี้ในแง่ของการบูลลี่กันในโรงเรียน เพื่อนรังแกกันแกล้งกัน หรือข่มขู่คุกคาม เป็นต้น แต่รู้หรือไม่ว่า การบูลลี่กันในที่ทำงาน
คนที่ทำงานดีเยี่ยมอย่างสม่ำเสมอนั้นหายาก และมีค่ากับองค์กรมาก ๆ และเป็นคนประเภทที่ทุกองค์กรพยายามจะปั้น หรือพยายามจะแข่งกันหา แต่การที่องค์กรสนใจแต่กับ “ตัวท็อป” นั้นทำให้คนที่ไม่เก่งเท่าถูกมองว่าเป็นปัญหาขององค์กร
ในชีวิตของมนุษย์มักจะมีวันสำคัญอยู่ 2 วัน คือ “วันที่ดี กับ วันที่แย่” ในวันที่ดีคงไม่ต้องกล่าวถึงมากเพราะในห้วงเวลานั้นชีวิตคุณคงเต็มไปด้วยความสุข